ธรรมบท 8 ภาค -อ. วสิน

By satasukh → Thursday, May 9, 2013



ธรรมบท 8 ภาค - อ. วสิน ธรรมบทภาค 1 1.ยมกวรรค 14 เรื่อง
01.ธรรมบท-พระจักขุบาล
02.ธรรมบท-มัทฐกุณฑลี
03.ธรรมบท-พระติสสะ
04.ธรรมบท-ยักษิณีชื่อกาลี
05.ธรรมบท-ภิกษุชาวโกสัมพี
06.ธรรมบท-พระจุลกาล และ พระมหากาล
07.ธรรมบท-ผู้ควรและไม่ควรแก่ผ้ากาสาวะ
08.ธรรมบท-ทางให้พบสิ่งอันเป็นสาระ
09.ธรรมบท-ราคะกับจิต
10.ธรรมบท-ผู้ต้องเศร้าโศกในโลกทั้งสอง
11.ธรรมบท-ผู้บันเทิงในโลกทั้งสอง
12.ธรรมบท-ผู้ต้องเดือดร้อนในโลกทั้งสอง
13.ธรรมบท-ผู้เพลิดเพลินในโลกทั้งสอง
14.ธรรมบท-ผู้มีส่วนและไม่มีส่วนแห่งสามัญผล

ธรรมบทภาค 2 2.อัปปมาทวรรค 9
01.ธรรมบท-ผู้ไม่ตาย
02.ธรรมบท-ธรรมเป็นเหตุให้ยศเจริญ
03.ธรรมบท-การทำที่พึ่งด้วยธรรม
04.ธรรมบท-ทางแห่งการบรรลุสุขอันไพบูลย์
05.ธรรมบท-ปัญญาเพียงดังปราสาท
06.ธรรมบท-ผู้ตื่นอยู่เสมอ
07.ธรรมบท-บัณฑิตสรรเสริญความไม่ประมาท
08.ธรรมบท-สักกปัญหสูตร
09.ธรรมบท-ผู้เห็นภัยในความประมาท
3. จิตตวรรค 9 01.ธรรมบท-ผู้อยู่ใกล้พระนิพพาน
02.ธรรมบท-จิตที่ดิ้นรนกลับกลอก
03.ธรรมบท-จิตที่นำความสุขมาให้
27.ธรรมบท-จิตนี้ละเอียดยิ่งนัก
04.ธรรมบท-จิตนี้เที่ยวไปไกล
05.ธรรมบท-จิตอันราคะไม่ซึมซาบ
06.ธรรมบท-การกั้นจิต
07.ธรรมบท-กายนี้เหมือนท่อนไม้ไร้ประโยชน์
08.ธรรมบท-จิตที่ตั้งไว้ผิด
09.ธรรมบท-จิตที่ตั้งไว้ชอบ

ธรรมบทภาค 3 4. ปุปผวรรค 12
01.ธรรมบท-ผู้เลือกเก็บดอกไม้
02.ธรรมบท-ผู้ตัดพวงดอกไม้ของมาร
03.ธรรมบท-สวนดอกไม้คือกามคุณ
04.ธรรมบท-ผู้ไม่อิ่มในกาม
05.ธรรมบท-เสมือนแมลงภู่เชยเกสรดอกไม้
06.ธรรมบท-กิจของตน
07.ธรรมบท-วาจาสุภาษิตเหมือนดอกไม้
08.ธรรมบท-ทำกุศลเหมือนรวมพวงดอกไม้
09.ธรรมบท-กลิ่นศีล
10.ธรรมบท-กลิ่นชั้นสูง
11.ธรรมบท-ทางที่มารหาไม่พบ
12.ธรรมบท-ดอกบัวในกองหยากเยื่อ

5. พาลวรรค 15
01.ธรรมบท-สังสารวัฏของคนพาล
02.ธรรมบท-ความเป็นสหายไม่มีในคนพาล
03.ธรรมบท-ความเดือดร้อนของคนเขลา
04.ธรรมบท-คนโง่สำคัญตนว่าฉลาด
05.ธรรมบท-คนพาลเหมือนทัพพีไม่รู้รสแกง
06.ธรรมบท-คนฉลาดเหมือนลิ้นรู้รสแกง
07.ธรรมบท-คนพาลทำตนเป็นศัตรูแก่ตน
08.ธรรมบท-กรรมอันทำให้เดือดร้อนภายหลัง
09.ธรรมบท-กรรมอันทำให้อิ่มใจ
10.ธรรมบท-คนพาลเห็นบาปเหมือนของหวาน
11.ธรรมบท-ผู้บริโภคโภชนะด้วยปลายหญ้าคา
12.ธรรมบท-เหมือนไฟที่เถ้ากลบไว้
13.ธรรมบท-ความรู้ของคนพาล
14.ธรรมบท-ความดำริของคนพาล
15.ธรรมบท-ข้อปฏิบัติเพื่อลาภและนิพพาน

ธรรมบทภาค 4 6. ปัณฑิตวรรค 11
01.ธรรมบท-ผู้ชี้บอกขุมทรัพย์ให้
02.ธรรมบท-ผู้เป็นที่รักของสัตตบุรุษ
03.ธรรมบท-มีกัลยาณมิตรเป็นเพื่อน
04.ธรรมบท-ผู้เอิบอิ่มในธรรม
05.ธรรมบท-บัณฑิตย่อมฝึกตน
06.ธรรมบท-บัณฑิตกับนินทาและสรรเสริญ
07.ธรรมบท-ผ่องใสเพราะธรรม
08.ธรรมบท-บัณฑิตไม่แสดงอาการขึ้นลง
09.ธรรมบท-บัณฑิตไม่ทำบาป
10.ธรรมบท-ส่วนมากเลาะไปตามฝั่ง
11.ธรรมบท-บัณฑิตทำตนให้ผ่องแผ้ว

7. อรหันตวรรค 10
01.ธรรมบท-ความเร่าร้อนไม่มีแก่ใคร
02.ธรรมบท-ท่านผู้มีสติเปรียบดั่งฝูงหงส์
03.ธรรมบท-เหมือนทางไปของนกในอากาศ
04.ธรรมบท-ร่องรอยของผู้สิ้นอาสวะ
05.ธรรมบท-ภิกษุผู้เป็นที่รักของเทวดา
06.ธรรมบท-ผู้มีวัตรดี
07.ธรรมบท-ใจเป็นประธาน
08.ธรรมบท-ผู้ไม่เชื่อง่าย
09.ธรรมบท-สถานที่อันน่ารื่นรมย์
10.ธรรมบท-ป่าเป็นที่รื่นรมย์ของผู้ไม่แสวงหากาม

8. สหัสสวรรค 14
01.ธรรมบท-แม้พูดตั้งพัน
02.ธรรมบท-คาถาพัน
03.ธรรมบท-ยอดนักรบในสงคราม
04.ธรรมบท-ความชนะที่ไม่กลับแพ้อีก
05.ธรรมบท-การบูชาท่านที่ควรบูชา
06.ธรรมบท-การบำเรอไฟ
07.ธรรมบท-ท่านผู้ดำเนินตรง
08.ธรรมบท-ธรรมเป็นเหตุให้อายุยืน
09.ธรรมบท-ความประเสริฐแห่งผู้มีศีล
10.ธรรมบท-ความเป็นอยู่ของผู้ไร้ปัญญา
11.ธรรมบท-ชีวิตของผู้มีความเพียร
12.ธรรมบท-ชีวิตของผู้เห็นความเกิดความดับ [นางปฏาจารา]
13.ธรรมบท-ผู้เห็นอมตะบท [กีสาโคตมี]
14.ธรรมบท-ผู้เห็นธรรมอันยอดเยี่ยม [พหุปุตติกเถรี]

ธรรมบทภาค 5 9. ปาปวรรค 12
01.ธรรมบท-ใจที่น้อมไปในบาป
02.ธรรมบท-ไม่ควรทำบาปบ่อย ๆ
03.ธรรมบท-ควรทำบุญบ่อย ๆ
04.ธรรมบท-เมื่อบาปยังไม่ให้ผล
05.ธรรมบท-ไม่ควรดูหมิ่นบาป
06.ธรรมบท-ไม่ควรดูหมิ่นบุญ
07.ธรรมบท-เว้นบาปเหมือนเว้นยาพิษและทางมีภัย
08.ธรรมบท-เหมือนมือไม่มีแผล
09.ธรรมบท-เหมือนปาธุลีทวนลม
10.ธรรมบท-กำเนิดที่ต่างกัน
11.ธรรมบท-ไม่มีที่หลบบาป
12.ธรรมบท-เงื้อมหัตถ์มัจจุราช

10. ทัณฑวรรค 11
01.ธรรมบท-เอาตนเข้าไปเปรียบ
02.ธรรมบท-ชีวิตเป็นที่รัก
03.ธรรมบท-ความสุขบนความทุกข์
04.ธรรมบท-เหมือนกังสดาลปากขา
05.ธรรมบท-เหมือนนายโคบาลต้อนฝูงโค
06.ธรรมบท-เหมือนถูกไฟไหม้เพราะกรรมของตน
07.ธรรมบท-ประทุษร้ายในท่านผู้ไม่ประทุษร้าย
08.ธรรมบท-มิจฉาวายามะ
09.ธรรมบท-ผู้ประดับกาย ประพฤติธรรม
10.ธรรมบท-กีดกันอกุศลด้วยความละอาย
11.ธรรมบท-ผู้ฝึกตน

11. ชราวรรค 9
05.ธรรมบท-เพลิงแห่งโลก
06.ธรรมบท-กายนี้
07.ธรรมบท-รูปนี้
08.ธรรมบท-กระดูก
09.ธรรมบท-นครกระดูก
01.ธรรมบท-ธรรมของสัตบุรุษไม่เก่า
02.ธรรมบท-แต่เนื้อ
03.ธรรมบท-นายช่างผู้ทำเรือน
04.ธรรมบท-ไม่ได้ทรัพย์เมื่อหนุ่ม


ธรรมบทภาค 6

12. อัตตวรรค 10
05.ธรรมบท-การประคับประคองตน
06.ธรรมบท-ก่อนสอนผู้อื่น
07.ธรรมบท-ตนเองฝึกได้ยาก
08.ธรรมบท-ตนเป็นที่พึ่งของตน
01.ธรรมบท-บาปอันเกิดขึ้นในตน
02.ธรรมบท-ความเบียดเบียนตน
03.ธรรมบท-กรรมที่ทำง่ายและทำยาก
04.ธรรมบท-ผู้เกิดมาเพื่อฆ่าตนเอง
05.ธรรมบท-ความบริสุทธิ์ และไม่บริสุทธิ์
06.ธรรมบท-ประโยชน์ของตน
13. โลกวรรค 11 07.ธรรมบท-ไม่ควรเป็นคนรกโลก
08.ธรรมบท-ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุขในโลกทั้งสอง
09.ธรรมบท-เห็นโลกเหมือนพยับแดด
10.ธรรมบท-จงมาดูโลกนี้
11.ธรรมบท-ผู้ยังโลกนี้ให้สว่าง
12.ธรรมบท-ผู้ยังโลกนี้ให้สว่าง
01.ธรรมบท-สัตว์โลกมืดบอด
02.ธรรมบท-ผู้ออกไปจากโลก
03.ธรรมบท-ผู้ก้าวล้วงปรโลกเสียแล้ว
04.ธรรมบท-ผู้มีความสุขในโลกหน้า
05.ธรรมบท-ประเสริฐกว่าความเป็นใหญ่ในโลกทั้งปวง

14. พุทธวรรค 9
06.ธรรมบท-พระองค์ผู้ไม่กลับแพ้อีก
07.ธรรมบท-ทรงเป็นที่กระหยิ่มของเทวาและมนุษย์
08.ธรรมบท-ความยากสี่อย่าง
09.ธรรมบท-คำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย
10.ธรรมบท-ความอิ่มในกามไม่มี
11.ธรรมบท-สรณะอันเกษมคือพระรัตนตรัย
12.ธรรมบท-คนอาชาไนย เรื่องพระอานนท์เถระ
33.ธรรมบท-ความเกิดขึ้นของพระพุทธเจ้า
34.ธรรมบท-ผลแห่งการบูชาพระพุทธเจ้า


15. สุขวรรค 8
35.ธรรมบท-ความสุขท่ามกลางความทุกข์
36.ธรรมบท-ผู้มีปีติเป็นภักษา
37.ธรรมบท-ผู้สงบอยู่ไม่เป็นสุข
38.ธรรมบท-สันติสุข
39.ธรรมบท-ความไม่มีโรคเป็นลาภอย่างยิ่ง
40.ธรรมบท-ผู้ดื่มรสอันเกิดแต่วิเวก
41.ธรรมบท-ความสุขเพราะการอยู่กับพระอริยะ

16. ปิยวรรค 9
42.ธรรมบท-ความพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก
43.ธรรมบท-ความโศกเกิดจากสิ่งที่รัก
44.ธรรมบท-ความโศกเกิดแต่ความรัก
45.ธรรมบท-ความโศกเกิดจากความยินดี
46.ธรรมบท-ความโศกเกิดจากกาม
47.ธรรมบท-โศกเกิดจากตัณหา
48.ธรรมบท-ผู้เป็นที่รักของมหาชน
49.ธรรมบท-ผู้มีจิตไม่ปฏิพัทธ์
50.ธรรมบท-บุญต้อนรับผู้ทำความดี

17. โกธวรรค 8
51.ธรรมบท-พึงละความโกรธ
52.ธรรมบท-พึ่งสละความถือตัว
53.ธรรมบท-ล่วงสังโยคทั้งปวงเสีย
54.ธรรมบท-ผู้ทรงความโกรธ
55.ธรรมบท-การชนะความโกรธ
56.ธรรมบท-พึงชนะคนไม่ดีด้วยความดี
57.ธรรมบท-ชนะคนตระหนี่ด้วยการให้ปัน
58.ธรรมบท-ไม่ควรโกรธ
59.ธรรมบท-ไปสู่ที่อันไม่ต้องเศร้าโศก
60.ธรรมบท-อาสวะตั้งอยู่ไม่ได้
61.ธรรมบท-ของเก่า
62.ธรรมบท-ผู้สำรวมไตรทวาร

ธรรมบทภาค 7 18. มลวรรค 12
63.ธรรมบท-มลทิน
64.ธรรมบท-กำจัดมลทินทีละน้อย
65.ธรรมบท-ล่วงปัญญาชื่อโธนา
66.ธรรมบท-มลทินของมนต์
67.ธรรมบท-มลทินยิ่งกว่ามลทิน
68.ธรรมบท-กล้าเพียงดังกา
69.ธรรมบท-ขุดรากของตน
01.ให้ตามศรัทธา
02.ไฟราคะ
03.โทษของคนอื่น
04.ผู้ไกลจากความสิ้นอาสวะ
05.รอยเท้าในอากาศ

19. ธัมมัตถวรรค 10
06.ผู้มีปัญญาคุ้มครองธรรม
07.ผู้เป็นบัณฑิต
08.ผู้ทรงธรรม
09.ผู้เป็นเถระ
10.ผู้ดี
11.จักรเป็นสมณะอย่างไรได้
12.ผู้ได้นามว่าเป็นภิกษุ
13.ผู้สมควรเป็นมุนี
14.ผู้สมควรเป็นอริยะ
15.ไม่ควรวางใจ


20. มรรควรรค 10
16.อริยะมรรค
17.ทางแห่งความบริสุทธิ์
18.ผู้ไม่พบทางแห่งปัญญา
19.ทางที่ท่านผู้แสวงหาคุณประกาศแล้ว
20.ทางเดินแห่งปัญญา
21.จงตัดป่า
22.ตัดความรักของตน
23.อันตรายแห่งชีวิต
24.มัจจุราชกับผู้เมาในบุตร
25.ไม่มีใครต้านทาน

21. ปกิณณกวรรค 9
26.สละสุขพอประมาณเพื่อสุขอันไพบูลย์
27.ผู้ระคนด้วยเวร
28.ผู้ละทิ้งกิจที่ควรทำ
29.ฆ่ากิเลสเพียงดังมารดา
30.ผู้ตื่นอยู่
31.ไม่พึงเป็นผู้เดินทางไกล
32.ผู้ได้รับการบูชาในที่ทุกแห่ง
33.สัตบุรุษที่ปรากฏในที่ไกล
34.นั่งคนเดียว


22. นิรยวรรค 9
35.ผู้พูดไม่จริงตกนรก
36.ผู้มีผ้ากาสาวะพันคอ
37.กินก้อนเหล็กดีกว่า
38.ฐานะ สี่
39.การบวชที่ย่อหย่อน
40.ความชั่วไม่ทำเลยดีกว่า
41.คุ้มครองตน
42.ผู้ละอายในสิ่งอันไม่ควรละอาย
43.ผู้เห็นโทษว่าไม่เป็นโทษ

23. นาควรรค 8
44.เหมือนช้างศึกสู่สงคราม
45.สู่ทิศที่ไม่เคยไป
46.แม้ช้างยังเลี้ยงมารดา
47.ผู้เข้าห้องบ่อย ๆ
48.เหมือนบุรุษผู้กุมขอ
49.ถอนตนขึ้นจากหล่ม
50.เที่ยวไปคนเดียวดีกว่า
51.เมื่อความต้องการเกิดขึ้น
52.การไม่ทำบาปทั้งปวงเป็นสุข

24. ตัณหาวรรค 12
53.ตัณหาเหมือนเถาวัลย์
54.เมื่อตัณหานุสัยยังมีอยู่
55.ผู้หวนไปสู่ป่าอีก
56.เรือนจำภายใน
57.เหมือนแมลงมุมตกไปในใยตัวเอง
58.ผู้ถึงฝั่งแห่งภพ
59.ผู้ตัดเครื่องผูกแห่งมาร
60.ผู้ถึงความสำเร็จ
61.ผู้ครอบงำธรรมทั้งปวง
62.ธรรมทาน
63.โภคะฆ่าคนทรามปัญญา
64.ทานที่มีผลมาก
65.ทางพ้นจากทุกข์ของภิกษุ

25. ภิกขุวรรค 12
66.ผู้สำรวมมือเท้า
67.ภาษิตของคนเช่นไรไพเราะ
68.ผู้ไม่เสื่อมสัจธรรม
69.ไม่พึงดูหมิ่นลาภของตน
70.ผู้สมนามว่าเป็นภิกษุ
71.ผู้อยู่ด้วยเมตตา
72.เหมือนมะลิเครือปล่อยดอก
73.ผู้คายโลกามิส
74.เตือนตนด้วยตน
75.ผู้มากด้วยปราโมช
76.ผู้ยังโลกให้สว่าง


26. พราหมณวรรค 36
77.ตัดกระแสแห่งตัณหา
78.ผู้ถึงฝั่งในธรรมทั้งสอง
79.ปราศจากธุลีคือกาม
80.ทรงรุ่งเรืองด้วยพระเดช
81.ผู้ได้นามว่าบรรพชิต
82.พราหมณ์ไม่ควรประหารพราหมณ์
83.ผู้สำรวมด้วยฐานะ สาม
84.การนอบน้อมอาจารย์ของพระสารีบุตร
85.ไม่ใช่เพราะชฎา
86.เกลี้ยงแต่ภายนอก
87.เพ่งอยู่ผู้เดียวในป่า
88.ผู้ไม่มีกิเลสเครื่องกังวล
89.ผู้ล่วงเครื่องข้อง
90.ผู้ถอนลิ่มสลักได้
91.ผู้มีขันติเป็นกำลัง
92.ผู้มีสรีระชิ้นสุดท้าย
93.ผู้มีสรีระชิ้นสุดท้าย
94.ผู้ปลงภาระได้แล้ว
95.ผู้บรรลุประโยชน์สูงสุดแล้ว
96.ผู้ไม่คลุกคลีด้วยหมู่คณะ
97.ผู้วางอาชญาได้แล้ว
98.ผู้ไม่เคียดแค้น
99.ราคะตกไป
100.ถ้อยคำไม่ระคายหู
101.ไม่ถือเอาของผู้อื่น
102.ความหวัง
103.ความอาลัย
104. ผู้ละบุญและบาปได้
105.บริสุทธิ์ดุจดวงจันทร์
106.ผู้ข้ามพ้นทางอ้อมแล้ว
107.ผู้ประหารกาม
108.นักฟ้อน (1-2)
109.ผู้รู้จุติ และอุบัติ
110.ธรรมทินนา
111.องคุลิมาลเถระ
112.ผู้เห็นสวรรค์และอบาย

รวมวรรคที่มีในคาถาธรรมบท คือ ยมกวรรค อัปปมาทวรรค จิตตวรรค ปุปผวรรค พาลวรรค ปัณฑิตวรรค อรหันตวรรค สหัสสวรรค ปาปวรรค ทัณฑวรรค ชราวรรค อัตตวรรค โลกวรรค พุทธวรรค สุขวรรค ปิยวรรค โกธวรรค มลวรรค ธัมมัฏฐวรรค รวมเป็น ๒๐ วรรค ปกิณณกวรรค นิรยวรรค นาควรรค ตัณหาวรรค ภิกขุวรรค พราหมณวรรค รวมทั้งหมดนี้เป็น ๒๖ วรรค อันพระ พุทธเจ้าผู้เป็นเผ่าพันธุ์แห่งพระอาทิตย์ทรงแสดงแล้ว ในยมกวรรคมี ๒๐ คาถา ในอัปปมาทวรรคมี ๑๒ คาถา ในจิตตวรรคมี ๑๑ คาถา ในปุปผวรรคมี ๑๖ คาถา ในพาลวรรคมี ๑๗ คาถา ในปัณฑิตวรรคมี ๑๔ คาถา ในอรหันตวรรคมี ๑๐ คาถา ในสหัสสวรรคมี ๑๖ คาถา ในปาปวรรคมี ๑๓ คาถา ในทัณฑวรรคมี ๑๗ คาถา ในชราวรรคมี ๑๑ คาถา ในอัตตวรรคมี ๑๒ คาถา ในโลกวรรคมี ๑๒ คาถา ในพุทธวรรคมี ๑๖ คาถา ในสุขวรรคและปิยวรรคมีวรรคละ ๑๒ คาถา ในโกธวรรคมี ๑๔ คาถา ในมลวรรคมี ๒๑ คาถา ในธัมมัฏฐวรรคมี ๑๗ คาถา ในมรรควรรคมี ๑๖ คาถา ในปกิณณกวรรคมี ๑๖ คาถา ในนิรยวรรคและนาควรรค มีวรรคละ ๑๔ คาถา ในตัณหาวรรคมี ๒๒ คาถา ในภิกขุวรรคมี ๒๓ คาถา ในพราหมณวรรคอันเป็นวรรคที่สุดมี ๔๐ คาถา คาถา ๔๒๓ คาถา อันพระพุทธเจ้าผู้เป็นเผ่าพันธุ์แห่งพระอาทิตย์ ทรงแสดงไว้ในนิบาตในธรรมบท.
Buddhist Sangha Youth Thailand

ยุวพุทธสงฆ์ ประเทศไทย ยพสท